ความกลัวในเกม เป็นสิ่งที่เราไม่ค่อยเข้าใจ

            วันนี้แอดมินก็จะมาพูดถึงเรื่องราว ความกลัวในเกม เป็นสิ่งที่เราไม่ค่อยเข้าใจ หรือว่าจะเรียกอีกอย่างว่า Fear of the Unknown นั่นเองค่ะ ถ้าไม่อยากพึ่งความกลัวหรือเสียงดังที่ทำให้ตกใจ ก็ยังมีวิธีการที่ได้ผลกับคนส่วนใหญ่อยู่นะคะ อย่างการทำให้คนกลัวในสิ่งที่ไม่รู้หรือว่า Xenophobia อันนี้ก็เป็นสิ่งที่มนุษย์ทุกคนยังมีอยู่ในตัว แต่อาจจะไม่นึกถึงเท่าไหร่ในชีวิตประจำวัน อย่างการไปสัมภาษณ์งาน

ในสถานที่ที่ไม่รู้จัก หรือว่าการเอาเงินที่สะสมมาทั้งชีวิต ไปลงทุนกับอะไรที่ไม่แน่นอน สิ่งเหล่านี้ก็เป็นความกลัวของมนุษย์ที่นักพัฒนาเกมดึงมาใช้อย่างเป็นประโยชน์นั่นเองค่ะ แต่ก่อนที่เราจะมาคุยกันถึงเรื่องนี้ แอดมินก็ต้องขอฝากให้ไปติดตาม การออกแบบศัตรู กันด้วยนะคะ แล้วในวันนี้แอดมินก็ต้องขอขอบคุณ เบทฟิก68 ที่สนับสนุนบทความของเราในวันนี้ด้วยค่ะ

            สิ่งที่เราไม่สามารถมองเห็นได้ว่ามันจะมีผลลัพธ์แบบไหน หรือว่าไม่สามารถควบคุมได้ บางคนก็พยายามหลีกเลี่ยงการเผชิญกับสถานการณ์แบบนี้ โดยไม่รู้ตัว ในวิดีโอเกมก็จะใช้เทคนิคความกลัวพวกนี้ เป็นเทคนิคยอดนิยม และอันที่เป็นเบสิคอันแรกๆ ก็คือความมืด หนึ่งในสิ่งที่ฝังอยู่ในสัญชาตญาณของมนุษย์ ตั้งแต่อดีต เหมือนกับความรู้สึกสมัยเด็ก ที่เวลาโดนเพื่อนแกล้งปิดไฟขังไว้ในห้องน้ำ

หรือเวลาจะปิดไฟบันได แล้วขึ้นไปนอนเนี่ย เราก็จะมีความรู้สึกอยากจะหนีไปให้เร็ว ก่อนจะมีตัวอะไรตามมา ทั้งๆที่เราก็รู้อยู่นะคะว่า ความจริงแล้วมันก็ไม่มีอะไรหรอก แต่ก็ก็ยัง รู้สึกไม่สบายใจอยู่ดี ถึงเราจะสามารถสกัดกั้นความกลัวพวกนี้ได้ เมื่อมีอายุมากขึ้น แต่หลายคนก็ยังสงสัยเหมือนกับแอดมินนะคะ ว่าแล้วที่มาจากไหน ซึ่งบรรดาเกมสยองขวัญทั้งหลาย ส่วนใหญ่ก็จะใช้จุดนี้เป็นจุดส่วนหนึ่ง

ที่เป็นการออกแบบฉาก แต่ก็เป็นการใช้แบบสมดุล เพื่อให้ผู้เล่นยังคงมองเห็นได้มากพอ คือประมวลผลว่ากำลังเห็นอะไรอยู่เพราะถ้ามันมืดสนิทจนมองไม่เห็นต่อให้มันเกิดอะไรขึ้นบนหน้าจอผู้เล่นก็ไม่สามารถรับรู้ได้อย่างเต็มที่อยู่ดี นอกจากได้ยินเสียงแอดมินว่าหลักการมันก็คล้ายกับการโดดจากหอสูง 34 ฟุต หรือว่าราว 10 เมตร ที่มีศึกษาแล้วว่ามันเป็นความสูงที่ดีที่สุด ที่จะทำให้คนรู้สึกกลัวมันทำให้คนคิดว่า

มันสูงขนาดนี้ถ้าสลิงขาดลงไป ไม่ตายก็เจ็บหนักแน่ แต่ถ้าเป็นตกจากเครื่องบิน มันก็มีความรู้สึกเหมือนสูงว่าตายแน่ ไม่ต้องคิดมาก เทคนิคพวกนี้ก็นิยมใช้ในเกมดังมากมายอย่าง Resident Evil  หรือว่าจะเป็น Death space คือเรายังสามารถมองเห็นสิ่งที่ขยับได้ และสิ่งที่เสริมอรรถรสได้อีก ก็คือการให้ผู้เล่นบริหารแสงสว่างของตัวเองได้ ไม่ว่าจะเป็นไฟฉายตะเกียงหรือ แม้แต่ไฟแช็ก กับระบบประเภทนี้

ที่แอดมินชอบก็จะจะมีในเกมอย่าง FEAR ที่เราสามารถเปิดปิดไฟฉายได้เรื่อยๆ แต่ก็ต้องปิดสัมผัสเพื่อชาร์จไฟ ทำให้ผู้พัฒนาเกมสามารถออกแบบฉาก ที่มีส่วนที่ได้มากกว่าปกตินั่นเองค่ะ

💂‍♂ 💂‍♂ 💂‍♂ 💂‍♂ 💂‍♂ 💂‍♂ 💂‍♂ 💂‍♂ 💂‍♂ 💂‍♂ 💂‍♂ 💂‍♂ 💂‍♂ 💂‍♂ 💂‍♂ 💂‍♂ 💂‍♂ 💂‍♂ 💂‍♂ 💂‍♂ 💂‍♂ 💂‍♂ 💂‍♂ 💂‍♂ 💂‍♂ 💂‍♂ 💂‍♂ 💂‍♂ 💂‍♂ 💂‍♂